ผู้เขียน หัวข้อ: เลซิติน, Lecithin, เลซิทิน, วัตถุเจือปนอาหาร E322, Food Additive E322, อิมัลซิไฟ  (อ่าน 105 ครั้ง)

thaipolychem888

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 839
    • ดูรายละเอียด
เลซิติน, Lecithin, เลซิทิน, วัตถุเจือปนอาหาร E322, Food Additive E322, อิมัลซิไฟเออร์, Emulsifier
อิมัลซิไฟเออร์ เกรดอาหาร, Emulsifier Food Grade, Emulsifying Agent Food Grade
สามารถสอบถาม ข้อมูลสินค้าเพิ่มเติม และสั่งซื้อสินค้าได้ที่
บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด
Thai Poly Chemicals Company Limited
Tel: 034496284, 034854888
Mobile: 0800160016, 0893128888
Line ID: thaipoly8888
Email: thaipoly8888@gmail.com
Web: www.thaipolychemicals.com
ผลิตภัณฑ์ อิมัลซิไฟเออร์ เกรดอาหาร (Emulsifier Food Grade) ที่บริษัท จำหน่ายในปัจจุบัน ได้แก่
E322, Lecithin, Lecithin Liquid, Lecithin Powder, Soy Lecithin, Soya Lecithin
E322, Lecithin, Lecithin Liquid, Lecithin Powder
E471, Distilled Monoglycerides, DMG
E471, Glycerol Monostearate, GMS
E471, Glyceryl Monostearate, GMS
E471, Mono and Diglycerides, MDG
E472b, Lactic Acid Ester of Mono and Diglycerides, LACTEM
E472e, Diacetyl Tartaric Acid Ester of Mono and Diglycerides, DATEM
E476, Polyglycerol Polyricinoleate, PGPR
E477, Propylene Glycol Monostearate, PGMS
E481, Sodium Stearoyl 2 Lactylate, SSL
E491, Sorbitan Monostearate, Sorbitan Stearate, SMS, SPAN60
Emulsifier, Emulsifying Agent, อิมัลซิไฟเออร์, อิมัลซิฟายเออร์, สอบถามได้ที่ฝ่ายขาย TPCC
Commodity Emulsifier, อิมัลซิไฟเออร์พื้นฐาน, อิมัลซิฟายเออร์พื้นฐาน, สอบถามได้ที่ฝ่ายขายTPCC
Specialty Emulsifier, อิมัลซิไฟเออร์ชนิดพิเศษ, อิมัลซิฟายเออร์ชนิดพิเศษ, สอบถามได้ที่ฝ่ายขายTPCC
ข้อมูลผลิตภัณฑ์ อิมัลซิไฟเออร์
อิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) เป็นวัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ช่วยให้อิมัลชัน (Emulsion) คงตัวด้วยการลดแรงตึงผิว (Surface Tension) ของของเหลว โดยช่วยทำให้อิมัลชันมีความคงตัว และป้องกันไม่ให้อิมัลชันแยกเป็นชั้น ซึ่งในโมเลกุลของอิมัลซิไฟเออร์ มีทั้งส่วนที่ชอบน้ำ (Hydrophilic) และส่วนที่ไม่ชอบน้ำ (Hydrophobic) โดยจะหันส่วนที่ชอบน้ำเข้าหาน้ำ และหันส่วนที่ไม่ชอบน้ำเข้าหาไขมัน เป็นฟิล์มหุ้ม
ประเภทของอิมัลซิไฟเออร์
1. อิมัลซิไฟเออร์ที่ได้จากธรรมชาติ ซึ่งรวมถึง สารประกอบฟอสฟอลิพิด (Phospholipids) เช่น เลซิทิน (Lecithin) ที่ได้จากถั่วเหลือง และไข่แดง ไฮโดรคอลลอยด์ (Hydrocolloid) และกัม (Gum) ชนิดต่างๆ รวมถึง โปรตีน เช่น เวย์ (Whey) เป็นต้น
2. อิมัลซิไฟเออร์ที่ได้จากการสังเคราะห์ ซึ่งมักจะเตรียมจากพอลิออล (Polyols) และกรดไขมัน เช่น ไดกลีเซอไรด์ (Diglyceride) โมโนกลีเซอไรด์, มอโนกลีเซอไรด์ (Monoglyceride) เป็นต้น
การเลือกใช้งานอิมัลซิไฟเออร์
พิจารณาจากสัดส่วน ระหว่างส่วนที่ชอบน้ำ กับส่วนที่ชอบน้ำมัน (Hydrophile-Lipophile Balance, HLB) ซึ่งเป็นอัตราส่วนโดยน้ำหนักของมวลโมเลกุลส่วนที่ชอบน้ำ (Hydrophilic) กับมวลโมเลกุลทั้งหมด คูณด้วย 2 (Griffin's method) มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 20 เป็นค่าที่ใช้กำหนดการนำมาใช้งานของอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
สารที่มีค่า HLB เท่ากับ 0 คือสารที่ในโมเลกุล มีส่วนที่ไม่ชอบน้ำ (Hydrophobic) ทั้งหมด และไม่ละลายในน้ำ
ค่า HBL สูงขึ้น คือสารที่โมเลกุลจะมีส่วนที่ชอบน้ำมากขึ้น กระจายตัวในน้ำได้ดีขี้น
ค่า HLB ตั้งแต่ 3-6 เป็นอิมัลซิไฟเออร์ ชนิดน้ำในน้ำมัน (Water-in-oil emulsifier)
ค่า HLB ตั้งแต่ 8-18 เป็นอิมัลซิไฟเออร์ ชนิดน้ำมันในน้ำ (Oil-in-water emulsifier)